สรุปคำเทศนาออนไลน์
คริสตจักรเมล็ดพันธุ์เพชรบุรี: วันอาทิตย์ที่ 12 พฤศจิกายน 2566
สรุปคำเทศนาเรื่อง:
เริ่มต้นกับพระเจ้าด้วยครอบครัวผูกพัน ครอบครัวติดต่อและต่อติด
เทศนาโดย: อ.วันทนา เพ็งกลัด
ศิษยาภิบาลคริสตจักรเมล็ดพันธุ์เพชรบุรี
ข้อพระคัมภีร์ :
เฉลยธรรมบัญญัติ 6:4-9
คำนำ
พระธรรมตอนนี้เป็นข้อความที่คนยิวในสมัยพระเยซูคุ้นเคย บทท่องจำนี้เป็นการกล่าวประกาศพระลักษณะของพระเจ้าองค์เดียวและพระบัญชา ได้แก่ 1)ให้รักพระเจ้าด้วยสิ้นสุดจิตสุดใจ สุดกำลัง และ 2)ให้หมั่นสอนความเชื่อแก่ลูกหลานของพวกเขา
-
พระเจ้าทรงเป็นต้นแบบของความผูกพัน(4)
เฉลยธรรมบัญญัติ 6: 4
พระธรรมตอนนี้สอนความเชื่อในพระเจ้าองค์ พระเจ้าทรงเป็นตรีเอกานุภาพซึ่งแม้จะเป็นหนึ่งในแก่นแท้ แต่ทรงสำแดงพระองค์เองเป็นพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์
อพยพ 15:11 เพลงสรรเสริญและโมทนาพระคุณพระเจ้าสำหรับความน่าเกรงขาม อานุภาพในการรบ และความซื่อสัตย์ต่อประชากรของพระองค์
-ผูกสัมพันธ์
-สภาพแวดล้อมแบบละ แยก จาก ลดความแข็งแกร่ง เหนียวแน่นของความสัมพันธ์ในครอบครัว
-ความสัมพันธ์สำคัญต่อครอบครัว
-ประมาณครึ่งศตวรรษมาแล้วจิตแพทย์ ชื่อ จอห์น โบลบี้ ได้เสนอทฤษฎี ที่นักจิตวิทยาไทยเรียก ทฤษฎีการผูกพัน หรือ การผูกพันทางอารมณ์
-พระเจ้าทรงเป็นต้นแบบของความผูกพันธ์
2.เรียนรู้จากพระเจ้า (5-7)
เฉลยธรรมบัญญัติ 6: 5-7
คำนำ
พระธรรมตอนนี้เป็นข้อความที่คนยิวในสมัยพระเยซูคุ้นเคย บทท่องจำนี้เป็นการกล่าวประกาศพระลักษณะของพระเจ้าองค์เดียวและพระบัญชา ได้แก่ 1)ให้รักพระเจ้าด้วยสิ้นสุดจิตสุดใจ สุดกำลัง และ 2)ให้หมั่นสอนความเชื่อแก่ลูกหลานของพวกเขา
-
พระเจ้าทรงเป็นต้นแบบของความผูกพัน(4)
เฉลยธรรมบัญญัติ 6: 4
พระธรรมตอนนี้สอนความเชื่อในพระเจ้าองค์ พระเจ้าทรงเป็นตรีเอกานุภาพซึ่งแม้จะเป็นหนึ่งในแก่นแท้ แต่ทรงสำแดงพระองค์เองเป็นพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์
อพยพ 15:11 เพลงสรรเสริญและโมทนาพระคุณพระเจ้าสำหรับความน่าเกรงขาม อานุภาพในการรบ และความซื่อสัตย์ต่อประชากรของพระองค์
-ผูกสัมพันธ์
-สภาพแวดล้อมแบบละ แยก จาก ลดความแข็งแกร่ง เหนียวแน่นของความสัมพันธ์ในครอบครัว
-ความสัมพันธ์สำคัญต่อครอบครัว
-ประมาณครึ่งศตวรรษมาแล้วจิตแพทย์ ชื่อ จอห์น โบลบี้ ได้เสนอทฤษฎี ที่นักจิตวิทยาไทยเรียก ทฤษฎีการผูกพัน หรือ การผูกพันทางอารมณ์
-พระเจ้าทรงเป็นต้นแบบของความผูกพันธ์
2.เรียนรู้จากพระเจ้า (5-7)
เฉลยธรรมบัญญัติ 6: 5-7
2.1 ความผูกพันธ์ต่อพระเจ้าเสริมสร้างมีพลังต่อการเรียนรู้ของเด็ก(5)
เฉลยธรรมบัญญัติ 6: 5 รักพระเจ้าด้วยชีวิตทั้งหมดของเราเป็นพระบัญญัติข้อแรกและข้อที่สำคัญที่สุด
มัทธิว 22:37-39 จงรักองค์พระผู้เป็นเจ้าของท่านด้วยสุดใจของท่านด้วยสุดจิตของท่าน’ และด้วยสุดความคิดของท่าน นั่นแหละเป็นพระบัญญัติข้อสำคัญอันดับแรก ข้อที่สองก็เหมือนกัน คือ ‘จงรักเพื่อนบ้านเหมือนรักตนเอง’
-สิ่งที่พระเจ้าทรงขอจากทุกคนที่เชื่อและรับความรอดในพระคริสต์คือความรักที่อุทิศถวาย
1) ความรักแบบนี้ต้องมาจากท่าทีภายในจิตใจที่ให้คุณค่าและเคารพนับถือพระเจ้า
2) ความรักของเราที่มีต่อพระเจ้าต้องเป็นความรักที่ให้อย่างหมดหัวใจ
3) ความรักของเราที่มีต่อพระเจ้ารวมถึง
ก) การอุทิศตัวและความจงรักภักดีต่อพระองค์
ข) ความเชื่อที่มั่นคงและยึดมั่นต่อผู้ที่เราผูกพันเป็นหนึ่งเดียว
ค)ความซื่อสัตย์ในการอุทิศตนแด่พระองค์
ง) จิตใจที่อุทิศถวาย
จ)ความปรารถนาที่จะอยู่ในการประทับอยู่และมีสามัคคีธรรมกับพระองค์
-จงรักเพื่อนบ้าน บุตรของพระเจ้าต้องรักทุกคน รวมทั้งศัตรู พระเจ้าทรงบัญชาให้บุตรของพระเจ้ารักคริสเตียนแท้ที่บังเกิดใหม่ทุกคนเป็นพิเศษ
1) ความรักที่ผู้เชื่อมีต่อพี่น้องคริสเตียน เพื่อนบ้าน และศัตรู
2) ความรักต่อพระเจ้า
2.2 ให้ถ้อยคำของพระเจ้าอยู่ในใจของเรา(6)
เฉลยธรรมบัญญัติ 6: 6
-บทบัญญัติทั้งปวงอยู่ในใจของท่าน เป็นพระประสงค์อันมั่นคงของพระเจ้าที่จะทรงให้พระวจนะของพระองค์อยู่ในใจของประชากรของพระองค์
สุภาษิต 4:23
-พระคัมภีร์พูดถึงใจในฐานะของศูนย์กลาง “เพราะทุกสิ่ง…ล้วนไหลออกมาจากใจ”
1) ใจเป็นศูนย์กลางของสติปัญญา
2) ใจเป็นศูนย์กลางของอารมณ์
3) ท้ายที่สุดคือ ใจที่เป็นศูนย์กลางของอำนาจในการตัดสินใจของมนุษย์
ให้ถ้อยคำของพระเจ้าอยู่ในใจของเรา ผ่านการศึกษาพระคัมภีร์ ผ่านใจมีมีพระวจนะ จึงออกมาเป็นการกระทำให้ลูกเห็น
โรม 10:17
มัทธิว 13:16
2.3 ให้คำสอนของพระเจ้าแก่ลูกของเรา(7)
เฉลยธรรมบัญญัติ 6: 7 จงพร่ำสอนบทบัญญัติเหล่านี้แก่บุตรหลานของท่าน
วิธีที่สำคัญอย่างหนึ่งในการแสดงความรักต่อพระเจ้า
1) การฝึกบุตรหลานในทางของพระเจ้าควรเป็นเรื่องที่บิดามารดาเอาใจใส่มากที่สุด
2) คำสั่งสอนฝ่ายวิญญาณต้องมีศูนย์กลางอยู่ในครอบครัว
3) จุดประสงค์ของการสั่งสอนของบิดามารดาคือเพื่อสอนลูก ๆ ให้ยำเกรงพระเจ้า ให้ดำเนินในวิถีทางทุกอย่างของพระองค์ ให้รักและซาบซึ้งในพระองค์ และให้รับใช้พระองค์ด้วยสิ้นสุดจิตสุดใจของพวกเขา
4) ผู้เชื่อควรให้ลูก ๆ ได้รับการศึกษาที่มีพระเจ้าเป็นศูนย์กลาง
1 โครินธ์ 11:1
3.ตระหนักถึงพลังแห่งการเห็นและการได้ยิน(8-9)
เฉลยธรรมบัญญัติ 6: 8-9
-บนเหตุและผลเดียวกันนี้ พ่อแม่จะต้องรู้จักพระคริสต์ก่อน ดำเนินชีวิตตามถ้อยคำของพระองค์ แล้วท่านก็สามารถเป็นแบบอย่างให้กับลูกได้
ภาษารัก
1) ให้ของขวัญ
2) คำพูด
3) การกระทำ
4) ให้เวลาคุณภาพ
5) สัมผัส
2 โครินธ์ 1:9
2 โครินธ์ 11:17
-คิดบวกสุด ๆ หรือคิดบวก ๆ
ฟีลิปปี 4:4-7
โรม 12:2
มัทธิว 16:23
-เป็นความสว่างในโลก เพราะมีพระคริสต์ในชีวิต และมีความเชื่อเป็นของตัวเอง
-ช่วยลูกให้เรียนรู้ว่า ความสำเร็จที่แท้จริงในชีวิต คือรักพระเจ้า รักเพื่อนบ้าน ติดตามและมีชีวิตตามแบบอย่างพระคริสต์
1. ฉวยโอกาสที่จะใช้เวลากับลูก
2. ชื่นชมลูกตั้งแต่ยังเล็ก
3. รับรู้ความรู้สึกของลูก และ ช่วยลูกให้จัดการกับความรู้สึกเป็น
4. เรียนรู้จักสิ่งที่ลูกสนใจ และหาโอกาสมีส่วนร่วมในกิจกรรมนั้น
5. สร้างขอบเขตและแนวปฏิบัติ